
ย่อยง่าย ดูดซึมดี
เนื่องจากโครงสร้างของ แคลเซียมจากสาหร่ายทะเล (Aquamin) เป็นโครงสร้างแบบพืช(เหมือนรังผึ้ง) จึงทำให้มีพื้นที่ผิวที่มากกว่าแคลเซียมจากหินปูน ประมาณ 10 เท่า ซึ่งส่งผลดีต่อระบบย่อยอาหาร
ในงานวิจัยโดย Prof. Nora O’Brien จาก University College Cork, UCC Ireland โดยทำการทดลองในห้องปฏิบัติการเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแตกตัวของแคลเซียมจากสาหร่ายทะเล(Aquamin) และแคลเซียมที่ได้จากหินปูน
จากผลการวิจัยสรุปผลได้ว่า แคลเซียมจากสาหร่ายทะเล(Aquamin) ถูกย่อยได้ 86.5% ขณะที่แคลเซียมจากหินปูน ถูกย่อยได้เพียง 36.5%


74 Mineral Trace

แคลเซียมจากสาหร่ายทะเลนอกจากจะมีปริมาณแคลเซียมสูงถึง 32% ยังมี แมกนีเซียม 2.2% และแร่ธาตุอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์อีก 72 ชนิด เช่น โบรอน แมงกานีส โพแทสเซียม ซีลีเนียม เป็นต้น
